Concrete floor joint แบบเหล็กเทปูนรอยต่อพื้นคอนกรีต (http://www.concretefloorjoint.com)
(http://www.concretefloorjoint.com/images/editor/1.jpg) (http://www.concretefloorjoint.com/images/editor/2.jpg)
(http://www.concretefloorjoint.com/images/editor/3.jpg) (http://www.concretefloorjoint.com/images/editor/4.jpg) (http://www.concretefloorjoint.com/images/editor/5.jpg)
Concrete floor joint (http://www.concretefloorjoint.com) แบบเหล็กเทปูนรอยต่อพื้นคอนกรีต (http://www.concretefloorjoint.com) เนื่องจากคอนกรีตจะมีการหดตัว ขยายตัว หรือเปลี่ยนแปลงจากความชื้นหรืออุณหภูมิของตัวคอนกรีตเอง ผลทำให้คอนกรีตเกิดการเคลื่อนตัว และเกิดรอยแตกร้าวซึ่งจะเกิดปัญหาในช่วงรอยต่อของชิ้นคอนกรีต จึงต้องมีการป้องกันในรอยต่อเหล่านี้ โดยทั่วไปมี 3 แบบ ดังนี้
1 http://www.concretefloorjoint.com (http://[url=http://www.concretefloorjoint.com)]รอยต่อเพื่อการหดตัว หรือเพื่อการควบคุม (Contracetion or Control Joint)[/url]
เมื่อ คอนกรีตแข็งตัว ปริมาตรก็จะลดลงและเกิดการหดตัว ถ้าแรงแค้นที่เกิดจากการหดตัวสูงกว่าแรงดึงที่มีอยู่ในคอนกรีต ก็จะเกิดการแตกร้าว ส่วนสำคัญในการหดตัวนี้คือ น้ำ หากน้ำมากเท่าไร คอนกรีตก็จะแตกร้าวมากเช่นกัน วิธีแก้ไขคือ ใช้น้ำให้น้อยลง และจะได้กำลังคอนกรีตมากขึ้นด้วย การบ่มคอนกรีตก็สามารถช่วยได้ และการเตรียมตำแหน่งรอยต่อเพื่อให้เกิดรอยแตกร้าว โดยการทำรอยต่อให้เป็นร่องลึกประมาณ 1/3 - 1/4 ของความหนาคอนกรีต และกว้าง 3 - 6 ม.ม. และอุดรอยต่อด้วยวัสดุยืดหยุ่นได้ เช่น แอสฟัลต์ ควรทำทุกช่วงเสา สำหรับทางเท้าทุก 2.00 ม. และถนนทุก 5.00 - 6.00 ม.
2 http://www.concretefloorjoint.com (http://[url=http://www.concretefloorjoint.com)]รอยต่อเพื่อการขยายตัว หรือเพื่อแยกโครงสร้าง (Expansion or Isolated Joint)[/url]
เป็น รอยต่อเพื่อให้คอนกรีตขยายตัว หรือแยกโครงสร้างออกจากกัน เพื่อให้คอนกรีตสามารถขยายตัวได้ในแนวดิ่ง รอยต่อนี้จะตัดแผ่นพื้นคอนกรีตออกจากโครงสร้างอื่น โดยมีวัสดุยืดหยุ่นที่ไม่มีการเปลี่ยนในทุกสภาพอากาศ เช่น แผ่นเส้นใย ยาง หนาประมาณ 6 - 12 ม.ม. โดยวางตรงรอยต่อตลอดความหนาของพื้นในแนวดิ่งในจุดที่เหมาะสม เช่น พื้นคอนกรีตใหม่ที่พบกับพื้นเก่า แนวกำแพง ขอบอาคารตึก ฐานบันได ขอบเสา หรือทางเท้ากับถนน
3 รอยต่อเพื่อการก่อสร้าง หรือรอยต่อระหว่างงาน(http://www.concretefloorjoint.com (http://[url=http://www.concretefloorjoint.com)]Construction Joint[/url])
เป็น รอยต่อที่ทำที่ผิวคอนกรีต โดยการกำหนดร่วมกันระหว่างสถาปนิก และวิศวกร เมื่อเป็นรอยต่อที่มิได้ระบุในแบบ รอยต่อในพื้นอาจอยู่กลางพื้นหรือคานซอยได้ ที่ผิวรอยต่อนั้นต้องสะอาด พรมน้ำให้เปียก ราดด้วยน้ำปูนซีเมนต์ข้น ก่อนเททับรอยต่อนั้น
การทำรอยต่อจะช่วยทำให้แรงเค้นดึงภายในคอนกรีตลดลง ควบคุมรอยแตกร้าวให้เป็นระเบียบไม่กระจัดกระจายทำให้ง่ายต่อการซ่อมบำรุงในภายหลัง
การทำรอยต่อจะต้องออกแบบอย่างถูกต้องและจะต้องก่อสร้างอย่างถูกวิธีเพื่อหลีก เลี่ยงการเกิดรอยแตกร้าวที่ไม่สามารถควบคุมได้ โดยมีข้อแนะนำดังต่อไปนี้
รอยต่อควรทำที่ระยะห่างทุกๆ 24-36 เท่าของความหนาพื้น ตัวอย่างเช่น เทพื้นหนา 10 ซม. ระยะห่างในการทำรอยต่อควรทำทุก 3 เมตร แต่ในบางกรณีระยะห่างของรอยต่ออาจทำได้มากกว่านั้นแต่ไม่ควรเกิน 4.5 เมตร แนะนำว่าควรทำแผ่นพื้นให้เป็นรูปทรงจัตุรัสจะดีที่สุด หากไม่สามารถทำได้ให้กำหนดเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยมีอัตราส่วนด้านยาวไม่เกิน 1.5 เท่าของด้านกว้าง และหลีกเลี่ยงการทำพื้นรูปทรงตัวแอว (L- shaped) สำหรับในการทำรอยต่อเพื่อการหดตัว (Contraction Joint (http://www.concretefloorjoint.com)) ความลึกขั้นต่ำของรอยต่อไม่ควรน้อยกว่า ¼ ของความหนาของพื้น แต่ไม่ควรน้อยกว่า 2.5 ซม. ส่วนระยะเวลาที่ทำนั้นจะขึ้นอยู่กับวิธีการที่ใช้ทำรอยต่อ
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
คุณวิมลรัตน์ นิ่มเดช (วิศวกรสานักงาน) โทร 090-9075273 neenaknuk@gmail.com
คุณมัลลิกา คาผา (ธุรการประมาณราคา) โทร 090-9073165 pare_va12345@hotmail.com
บริษัท ชาญนครวิศวกรรม จํากัด สาขา 3 ลาดหลุมแก้ว
36/24 หมู่ 2 ต.คลองพระอุดม อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี 12140
Tel: 02-159-0984-88
Fax: 02-159-0989
E-mail: contacts_cne3@channakorn.co.th
Website: http://www.concretefloorjoint.com (http://www.concretefloorjoint.com)
Keyword: Concrete floor joint (http://www.concretefloorjoint.com) Construction Joint (http://www.concretefloorjoint.com)