:: GPStt.com ::

หมวด บอร์ดทั่วไป
=> มุมสนทนา เฮฮา ข่าวสารทั่วไป => ข้อความที่เริ่มโดย: ลุงเปี๊ยก ที-เน็ตเวิร์ค (อ.สากเหล็ก) ที่ 21 กันยายน 2557, เวลา 08:18:09 น.

หัวข้อ: ทุ่งสาน อำเภอ พรหมพิราม จังหวัด พิษณุโลก (ประวัติศาสตร์และความทรงจำในอดีต)
เริ่มหัวข้อโดย: ลุงเปี๊ยก ที-เน็ตเวิร์ค (อ.สากเหล็ก) ที่ 21 กันยายน 2557, เวลา 08:18:09 น.
ทุ่งสาน อำเภอ พรหมพิราม จังหวัด พิษณุโลก (ประวัติศาสตร์และความทรงจำในอดีต)

ที่ทำการนิคมสร้างตนเองทุ่งสาน อำเภอ พรหมพิราม จังหวัด พิษณุโลก N17.09157 E100.26835

http://maps.google.co.th/maps?um=1&hl=th&client=firefox-a&rls=org.mozilla:th:official&biw=1280&bih=631&q=N17.09157 E100.26835 (http://maps.google.co.th/maps?um=1&hl=th&client=firefox-a&rls=org.mozilla:th:official&biw=1280&bih=631&q=N17.09157 E100.26835)

ไม่เกี่ยวอะไรโดยตรงกับนิคมสร้างตนเองทุ่งสานนะ แต่เป็นความทรงจำในอดีต ที่พอจะจำความได้ ว่าบริเวณนี้มีประวัติ(ศาสตร์)รบกันเพื่อแย่งที่ทำกิน เลยค้นแล้วมาวางไว้ตรงนี้อ่ะ

ความของเนื้อเพลง "พม่ารบไทยครั้งในอดีต ไทยย่อมสละชีวิตคิดป้องกันผืนอธิปไตย แต่ศึกทุ่งสานนั้นรบกับใคร พรหมพิรามเปลี่ยนนามเสียใหม่ เป็นพรหมพิรามอาบเลือดน้ำตา"




อ่านแล้วมึน ปรุงแต่งมากไปดูแล้วไม่ค่อยตรงเท่าไร
อ้างถึง
[url]http://elibrary.trf.or.th/project_content.asp?PJID=RDG4440009[/url] ([url]http://elibrary.trf.or.th/project_content.asp?PJID=RDG4440009[/url])

งานศึกษานี้มีจุดมุงหมายเพื่อสืบคนวา ชาวบานสรางและใชประวัติศาสตรอยางไร เพื่อพิทักษสิทธิ์ของพวกเขาภาย
ใตสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไปเปนระยะๆ แนวคิดหลักของงานศึกษา คือ การจัดการสมบัติสาธารณะของชุมชน โดยใช
แนวทางและวิธีการศึกษาแบบผสมผสานของหลายศาสตร เชน ประวัติศาสตร นิเวศวิทยาและมานุษยวิทยาประยุกต
พื้นที่สําหรับการวิจัย คือ ทุงสาน ซึ่งเปนเขตผลิตขาวขนาดใหญประมาณ 150,000 ไร ตั้งอยูณ อําเภอพรหมพิราม
และบางสวนของอําเภอวัดโบสถ จังหวัดพิษณุโลก ทองทุงแหงนี้มีประวัติอันยาวนานของความเปลี่ยนแปลงทางนิเวศวิทยา
จากทองทุงที่เปดใหชุมชนเขาไปบริหารจัดการทํามาหากิน มาสูพื้นที่นาขนาดใหญ ภายใตการบริหารจัดการของรัฐคือ นิคม
สรางตนเองทุงสานในปจจุบัน
ผลการศึกษามีดังตอไปนี้
ชุมชนตางๆ ที่รายรอบอยู ณ ทุงสานอาจแบงได 4 ประเภท ตามลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน พวกแรกเปนชุมชน
ดั้งเดิมที่อยูมายาวนาน พวกที่ 2 เปนกลุมชาติพันธุลาวที่อพยพเขามาเปนระยะๆ ตั้งแตสมัยตนรัตนโกสินทร พวกที่ 3 เปน
กลุมคนอพยพรุนใหมที่มาจากจังหวัดตางๆ ในภาคกลาง พวกที่ 4 เปนชุมชนที่ถูกแบงแยกไปขึ้นในเขตการปกครองใหม
หลังจากการแบงวัดโบสถออกไปจากพรหมพิราม
ทุงสาน สําหรับชุมชนเหลานี้คือทรัพยากรเปดที่พวกเขาสามารถทํามาหากินไดอยางอิสระ เปนพื้นที่ที่พวกเขาผลิต
ความสัมพันธทั้งทางการผลิตและวัฒนธรรมประเพณี การแยงชิงทรัพยากรยังไมเกิดขึ้น เนื่องจากคนนอยและความเหลือเฟอ
ของทรัพยากร
ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ณ ทองทุงแหงนี้ ประมาณหลัง พ.ศ. 2500 เนื่องจากรัฐมีนโยบายสรางเขื่อนขนาดใหญ
ทําใหปริมาณน้ำคอยๆ หายไป ทําใหทุงสานเปลี่ยนสภาพจากพื้นที่ชุมน้ำ กลายเปนผืนดินขนาดใหญเหมาะแกการปลูกขาว
คนจากภายนอกเริ่มอพยพเขามาจับจองที่ดิน รวมทั้งซื้อขายจากนายทุนผูบุกเบิกที่ดิน การแทรกแซงของรัฐและทุน ทําให
อํานาจการจัดการสมบัติสาธารณะชิ้นนี้หลุดไปจากชุมชน เมื่อสมบัติสาธารณะถูกแปรสภาพเปนสมบัติปจเจก การตอสูแยง
ชิงจึงเกิดขึ้น รวมทั้งการเคลื่อนไหวเพื่อพิทักษสิทธิของชาวบาน
ความขัดแยงดําเนินไปอยางรุนแรงเมื่อรัฐปฏิเสธสิทธิของชาวบาน และอางวาทุงสานเปนสมบัติของรัฐตามกฎหมาย
รัฐจัดตั้งนิคมสรางตนเองทุงสานเพื่อยืนยันสิทธินี้ และจัดสรรที่ดินใหแกชาวบานผูสมัครเปนสมาชิก ชาวบานตอบโตโดย
เดินขบวนไปยังศูนยอํานาจ ณ กรุงเทพฯ เพื่อยืนยันสิทธิการใชที่มีมากอนการประกาศกฎหมายของรัฐ

การตอสูของชาวบานยุติลงประมาณหลัง พ.ศ. 2520 อาจกลาวไดวาชาวบานไดทั้งชัยชนะและความพายแพ อํานาจ
ในการจัดการทุงสานในฐานะเปนสมบัติสาธารณะหลุดไปจากมือชาวบาน ทุงสานกลายเปนสมบัติของปจเจก แตก็อยูภายใต
การบริหารของนิคมฯ ซึ่งกลายเปนสมบัติสาธารณะชิ้นใหมของชาวบานแตยากสําหรับการเขาถึง
ชาวบานทุงสานในปจจุบัน พบวาการรักษาพื้นที่นายากพอๆ กับการไดมันมา ชีวิตของพวกเขาคลายกับชาวนาในที่
อื่นๆ มีหนี้สิน เลาเรียนไมสูง สุขภาพย่ำแย โอกาสที่จะเปลี่ยนงานก็มีนอย แตพวกเขามีวิญญาณของนักสูไมยอมแพในการ
ตอสูยกใหม แตละชุมชนไดแสดงพลังของการปรับตัวเพื่อรักษาวิถีชีวิตของตนเองไว อันเปนการตอบโตตอสถานการณที่
เปลี่ยนแปลงไป ตัวอยางมีมากมาย ชุมชนที่เปนกลุมชาติพันธุลาว ไดพลิ้กฟนประเพณีของตนขึ้นมาเพื่อจัดเปนงานฉลอง
ของหมูบานไวตอนรับนักทองเที่ยว บางก็กลายเปนผูประกอบผลิตสินคาที่ใชความรูทักษะที่สั่งสมมาแตดั้งเดิม บางก็จัดตั้ง
กลุมกันภายในชุมชนเพื่อระดมทุนในการจัดสวัสดิการภายในชุมชน เชน สหกรณออมทรัพย สหกรณรานคา สหกรณการ
เกษตรฯลฯ พลังภายในถูกทําใหมั่นคงยิ่งขึ้นเมื่อถูกจัดการขยายออกเปนเครือขาย